บทความ

ม.6/12 รุ่น72

รูปภาพ
1. ปริญญา หนูทอง 2. จิรชัย จันทร์ศรี 3. ธีรภัทร์ แสนคำมูล 4. ชยุตพงศ์ ศุขมารถ 5.นราพล ชูประดิษฐ์ 6. รัชชานนท์ สุรภาพ 7. ภูริทร์ ธนโกเศศ 8.รัฐโรจน์ เดชดาษ 9. ยศธร ยี่สุ่นทอง 10. ธนโชติ ประชาชน 11. ธิตินนท์ พลนาวี 12. สุทธิพจน์ สิงหรัตน์ 13. กฤษฎา เหมือนเพ็ชร์ 14. ธัญเทพ กลั่นเนียม 15. กิตติธรา จันทร์กลาง 16.เกียรติศักดิ์ วรรณทอง 17.ณัฐพงศ์ พิมพ์ศรีจันทร์ 18.ภัทรดนัย แก้วสาร 19. วิศรุต รอดเสียงล้ำ 20. ชนัญชิดา เงินพดด้วง 21. ชลพินทฺ์ เขียนทอง 22. เบ็ญหอม พันธฺ์แก้ว 23.ศศิธร มีศิริ 24. ปวีณนุช กาญจนุบัติ 25. รวิสรา พิบูลศิลป์ 26. ชญานิศ เกตุทอง 27. ธนัชพร ทับทิม 28. นภสร ฤกกษ์ชะงาย 29. พรปวีณ์ คุณัญญาวิโรฒไชย 30. ณัฐมล สิงห์หร่าย 31. นภัทรสร เหลี่ยมบาง 32. นันท์นภัส กันทพงศ์ 33. นิศาชล เพชรเกื้อ 34.เบญญทิพท์ วงษ์ภา 35. ปาณิศรา นาคขำ 36. ภัทรสุดา พูลศรี 37 รุ้งตะวัน แก้วธรรม 38. รุ่งอรุณ แมนสืบชาติ 39. ศศิพัชร์ ปานศิลา 40. สิริยากร โรหิตเสถียร 41. สิริศตวรรษ บุญช่วย 42. หทัยพัชญ์ จ

นาย ธีรภัทร์ โด่ง แสนคำมูล

รูปภาพ
BACK

การสร้างโลโก้

รูปภาพ
BACK

การสร้างรูปภาพ

รูปภาพ

การสร้างรูปภาพ

รูปภาพ
BACK

เกาะอีสเตอร์

รูปภาพ
เกาะอีสเตอร์ เกาะอีสเตอร์ (Easter Island) หรือเกาะราปานูอี (Rapa Nui) เป็นเกาะขนาดเล็กตั้งอยู่อย่างโดดเดี่ยวในมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากฝั่งประเทศชิลีไปทางทิศตะวันตกกว่า 3,600 กิโลเมตร นักสำรวจชาวดัตช์เป็นชาวยุโรปกลุ่มแรกที่เดินทางมาพบเกาะนี้ในปี 1722 ในวันอีสเตอร์พอดีจึงตั้งชื่อเป็นเกาะอีสเตอร์ แม้ว่าจะเป็นเกาะเล็กๆที่อยู่โดดเดี่ยวห่างไกลแต่กลับต้องต้อนรับนักท่องเที่ยวที่หลั่งไหลมาปีละนับแสนคน มนต์เสน่ห์ที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวนอกจากความงดงามตามธรรมชาติก็คือรูปปั้นโมอายที่โดดเด่นนั่นเอง https://www.takieng.com/stories/5207 back

สโตนเฮนจ์

รูปภาพ
สโตนเฮนจ์ สโตนเฮนจ์มีชื่อเสียงอย่างมากในฐานะที่เป็นกลุ่มหินประหลาดซึ่งไม่มีใครทราบวัตถุประสงค์ในการสร้างอย่างชัดเจน และเมื่อพิจารณาถึงอายุของมันแล้ว คาดว่ากลุ่มกองหินประหลาดนี้ ถูกสร้างขึ้นมาเมื่อ 5,000 ปีที่แล้ว ทำให้นักวิทยาศาสตร์และนักประวัติศาสตร์ต่างสงสัยว่า คนในสมัยก่อนสามารถยกแท่งหินที่มีน้ำหนักกว่า 30 ตัน ขึ้นไปวางเรียงกันได้อย่างไร ทั้งๆ ที่ปราศจากเครื่องทุ่นแรงอย่างที่เราใช้อยู่ในปัจจุบัน และที่น่าแปลกไปกว่านั้นคือ ในบริเวณที่ราบดังกล่าว ไม่ใช่บริเวณที่จะมีก้อนหินขนาดมหึมานี้ ดังนั้นจึงสันนิษฐานว่าผู้สร้างต้องทำการชักลากแท่งหินยักษ์ทั้งหมด มาจากที่อื่น ซึ่งคาดว่าน่าจะมาจากบริเวณที่เรียกว่า “ทุ่งมาล์โบโร” ที่อยู่ไกลออกไปประมาณ 40 กิโลเมตรเลยทีเดียว https://www.tumnandd.com/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94-%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AE%E0%B8%99/ back